แสงสว่างในตัวหิ่งห้อยนั้นเกิดจาก สารลูซิเฟอรินไปรวมหับออกซิเจนในอากาศ โดยมีสารอีกตัวหนึ่ง คือ ลูซิเฟเรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี ซึ่งสารทั้งสองนี้ เกิดมาจากหิ่งห้อยโดยตรง แสงที่เกิดจากหิ่งห้อยจะเป็นแสงที่ปราศจากความร้อนซึ่งสามารถจับดูได้ และปริมาณแสงสว่างที่เกิดจากหิ่งห้อยนับว่าน้อยมาก เพียงหนึ่งในพันของแสงจากเทียนไขธรรมดา แสงของหิ่งห้อยจะมีลักษณะวับวาบ เพราะเเสงสว่างนั้นมันจะขึ้นอยู่กับจังหวะการหายใจของหิ่งห้อย ซึ่จังหวะเข้าแสงก็จะติดและจังหวะหายใจออกแสงก็จะดับ เป็นอยู่อย่างนี้ตลอดหิ่งห้องจะใช้แสงในการล่อเพศตรงข้าม และใช้ในการล่อเยื้อ
หิ่งห้อย มีแสงได้อย่างไร
มีนาคม 02, 2559
0
แสงสว่างในตัวหิ่งห้อยนั้นเกิดจาก สารลูซิเฟอรินไปรวมหับออกซิเจนในอากาศ โดยมีสารอีกตัวหนึ่ง คือ ลูซิเฟเรส เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี ซึ่งสารทั้งสองนี้ เกิดมาจากหิ่งห้อยโดยตรง แสงที่เกิดจากหิ่งห้อยจะเป็นแสงที่ปราศจากความร้อนซึ่งสามารถจับดูได้ และปริมาณแสงสว่างที่เกิดจากหิ่งห้อยนับว่าน้อยมาก เพียงหนึ่งในพันของแสงจากเทียนไขธรรมดา แสงของหิ่งห้อยจะมีลักษณะวับวาบ เพราะเเสงสว่างนั้นมันจะขึ้นอยู่กับจังหวะการหายใจของหิ่งห้อย ซึ่จังหวะเข้าแสงก็จะติดและจังหวะหายใจออกแสงก็จะดับ เป็นอยู่อย่างนี้ตลอดหิ่งห้องจะใช้แสงในการล่อเพศตรงข้าม และใช้ในการล่อเยื้อ